4 วิธีต้านเบาหวาน ลดน้ำตาล ป้องกัน 4 โรคร้ายมาเยือน

เบาหวาน…เป็นแล้วรักษาไม่หาย โรคยอดฮิตที่คุกคามคุณภาพชีวิตคนในยุคนี้ จากเดิมที่มักพบผู้ป่วยอายุ 50-60 ปีขึ้นไป ทุกวันนี้กลับพบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานมีอายุน้อยลงเรื่อยๆ โดยเฉพาะกลุ่มคนวัยทำงานที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง การดูแลตัวเองให้ห่างไกลจากโรคเบาหวานที่ดีที่สุดคือ การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ซึ่งก่อนที่จะไปรู้จักวิธีลดหรือคุมระดับน้ำตาล เรามาทำความรู้จักภาวะน้ำตาลในเลือดสูงกันก่อน

ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงคืออะไร?

ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) เป็นภาวะที่น้ำตาลและแป้งจากอาหารที่เรากินเข้าไป ตกค้างสะสมอยู่ในกระแสเลือดสูงกว่าปกติเป็นเวลานาน ซึ่งเป็นผลมาจากตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินซูลีนที่คอยทำหน้าที่ลำเลียงน้ำตาลและแป้งในกระแสเลือดไปยังเนื้อเยื่อเซลล์เพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงานให้กับร่างกายต่อไป

หากตรวจวัดระดับน้ำตาลหลังอดอาหารแล้ว 8 ชม. แล้วพบว่าระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่า 70-99 มก./ดล. หลังอดอาหาร 8 ชม.และ หลังทานอาหารแล้ว ระดับน้ำตาลในเลือดเกิน 180 มก./ดล. จะถือว่าอยู่ในภาวะน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ

ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงส่งผลอย่างไรกับสุขภาพ?

สำหรับคนทั่วไปที่ไม่ได้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน แม้ว่าภาวะน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำเป็นครั้งคราว จะเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้นได้ แต่หากระดับน้ำตาลสูงหรือต่ำเป็นเวลานาน  อาจส่งผลต่อการทำงานของอวัยวะภายในหรือเกิดโรคแทรกซ้อนตามมา เช่น โรคเบาหวาน โรคความดัน โรคไขมันในเส้นเลือด และโรคหัวใจ ซึ่งทั้ง 4 โรคนี้เป็นสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทยในปัจจุบันเป็นอันดับต้นๆ

อย่างไรก็ตาม การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดนั้นไม่ได้เป็นเพียงทางออกสำหรับผู้ป่วยเบาหวานเท่านั้น แต่ เหมาะสำหรับคนทุกเพศทุกวัยที่ควรควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้เป็นปกติ เพื่อการป้องกันโรคเบาหวานและโรคแทรกซ้อนอื่นๆ ในอนาคตด้วย

เมื่อรู้ที่มาที่ไปของภาวะน้ำตาลในเลือดสูงกันแล้ว คราวนี้มาดู 4 วิธีคุมระดับน้ำตาลในเลือดกันเลยดีกว่าว่าจะมีวิธีใดบ้าง

1. ปรับเปลี่ยนเรื่องกิน

ลดอาหารหวานให้น้อยลง ขนมนมเนย กาแฟเย็นหรือผลไม้ที่หวานจัด หันไปกินอาหารที่ให้คาร์โบไฮเดรตชนิดดี เช่น ข้าวซ้อมมือ ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีท ธัญพืชต่างๆ รวมถึงการกินผักที่ให้กากใยสูง แต่อย่างที่รู้กันว่า การควบคุมอาหารนั้นคุมยากแค่ไหน ขนมนมเนย อาหารไทยหลายเมนูมีส่วนประกอบของ กะทิ ไขมัน รวมถึงผลไม้ไทยที่ให้รสหวานเป็นพิเศษนั้นเลี่ยงยากมาก โดยเฉพาะกับคนใจไม่แข็งพอ

2-2

 

2.ออกกำลังกายเบิร์นน้ำตาล

การออกกำลังกายเป็นการดึงเอาน้ำตาลและไขมันที่สะสมตกค้างอยู่ในกระแสเลือดออกมาใช้เป็นพลังงานในขณะออกกำลังกาย เพื่อให้น้ำตาลชุดใหม่เข้าไปแทนที่ของเดิม แต่หากออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอ หรือร่างกายไม่แข็งแรง ไม่พร้อม หรือหยุดออกกำลังกายเป็นเวลานาน น้ำตาลและไขมันก็จะกลับมาสะสมเช่นเดิมอีก วิธีนี้จึงเหมาะกับคนที่ค่อนข้างจริงจัง และมีการวางตารางการออกกำลังกายที่แน่นอน

3-1

Advertisements

3.พบแพทย์

ปรึกษาแพทย์เพื่อวางแผนควบคุมระดับน้ำตาลหรืออาจจำเป็นต้องกินยาควบคู่กันไป ข้อเสียคือ ต้องไปพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอจนกว่าระดับน้ำตาลในเลือดจะลดลงถึงเกณฑ์ปกติ ต้องกินยาอยู่ตลอด หากขาดยาระดับน้ำตาลมักจะคุมไม่ได้อีก ซึ่งวิธีการนี้อาจต้องใช้เวลาเป็นปีหรือต้องกินยาไปตลอดชีวิต

4.กินสมุนไพรช่วยคุมระดับน้ำตาล

การกินสมุนไพรช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด น่าจะเป็นทางเลือกที่ง่ายกว่า สะดวกกว่า ซึ่งโชคดีที่ประเทศไทยมีสมุนไพรถึง 4 ชนิดที่สามารถช่วยควบคุมระดับน้ำตาลได้ ไม่ว่าจะเป็น อบเชย เตยหอม ผักเชียงดา และหญ้าหวาน

4

หากนำสมุนไพรทั้ง 4 ชนิดนี้ มาเป็นส่วนผสมในเมนูอาหารกินเป็นประจำก็จะช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้เป็นอย่างดี หรือจะซื้อเป็นแบบแคปซูลมากินก็ยิ่งสะดวก ยิ่งปัจจุบันนี้มีสมุนไพรที่อยู่ในรูปของแคปซูล ที่รวมเอา 4 สมุนไพรสำคัญนี้ไว้ในเม็ดเดียว อย่างสมุนไพรพฤกษา เฮลธ์  ที่ได้จากสมุนไพรธรรมชาติ 100% ด้วยแล้ว ก็มั่นใจได้ว่า ปลอดภัยและไร้ผลข้างเคียง นอกจากนี้สมุนไพรออร์แกนิค นราห์ ยังมีสรรพคุณอีกมากมายดังต่อไปนี้

  • ช่วยลดระดับน้ำตาลเลือด
  • ล้างสารพิษ ฟื้นฟู ปรับสภาพการทำงานของตับอ่อนให้เป็นปกติ
  • ลดและควบคุมปริมาณไขมัน
  • ซ่อมแซ่ม บำรุงหมวกไตและระบบการทำงานของไตให้สมบูรณ์
  • บรรเทาอาการภูมิแพ้และหอบหืด
  • บรรเทาอาการปวดข้อจากโรคเก๊าต์

 

nara-tea3

สำหรับคนที่ต้องการควบคุมระดับน้ำตาล ต้านเบาหวาน ก็สามารถดูรายละเอียดของ สมุนไพรพฤกษา เฮลธ์  สมุนไพรฆ่าน้ำตาล เพื่อเป็นตัวช่วยลดหรือควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด แถมยังปลอดภัย ไร้สารตกค้าง สกัดจากธรรมชาติ 100% และไม่มีผลข้างเคียง ให้เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน ไขมันในเลือด และโรคหัวใจ หรือผู้ที่ใส่ใจสุขภาพ ที่ไม่อยากกินยาไปตลอดชีวิต ได้ที่นี่ค่ะ

คุมระดับน้ำตาล ต้านเบาหวาน…คลิกที่นี่!

ที่มา : pruksaherb.weebly.com

 

nara-tea32

ขอบคุณภาพ: Pixabay

Advertisements

Advertisements

Advertisements